เรียนรู้ทุกชนิดแต่ควรคิดก่อนใช้

เรียนรู้ทุกชนิดแต่ควรคิดก่อนใช้
คติพจน์ประจำใจ

วันจันทร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2555

ตามรอยศรีลังกา


ประเทศศรีลังกา
สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา
ศรีลังกา (สิงหล)இலங்கை சனநாயக சோஷலிசக் குடியரசு (ทมิฬ)
เพลงชาติ: ศรีลังกามาตา
(มารดาแห่งศรีลังกา)
เมืองหลวง  ศรีชัยวรเทนปุระ-โกตเต
6°54N 79°54E / 6.9°N 79.9°E
เมืองใหญ่สุด     โคลัมโบ

ภาษาทางการ     ภาษาสิงหลและภาษาทมิฬ
การปกครอง      สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตย
 -      ประธานาธิบดี    มหินทะ ราชปักษา
 -      นายกรัฐมนตรี    ดี. เอ็ม. ชยรัตนะ
เอกราช     จาก สหราชอาณาจักร
 -      ประกาศ    4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491

 พื้นที่ -        รวม  65,610 ตร.กม. (122)
25,332 ตร.ไมล์  -         แหล่งน้ำ (%)     1.3%
ประชากร - 2548 (ประเมิน)   20,743,000 (52)
 -      2544 (สำมะโน)   18,732,255
 -      ความหนาแน่น    316 คน/ตร.กม. (35)
818 คน/ตร.ไมล์
 จีดีพี (อำนาจซื้อ)  2548 (ประมาณ)
 -      รวม  86.72 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (61)
 -      ต่อหัว      4,300 ดอลลาร์สหรัฐ (111)
ดพม. (2546)       0.751 (กลาง) (93)
สกุลเงิน    รูปี (LKR)
เขตเวลา    (UTC+5:30)
ระบบจราจร      ซ้ายมือ
โดเมนบนสุด     .lk
รหัสโทรศัพท์     94
 ศรีลังกา (สิงหล: ทมิฬ: இலங்கைหรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา (อังกฤษ: ทมิฬ: இலங்கை சனநாயக சோசலிசக் குடியரசுเป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรอินเดียใกล้ชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของอนุทวีปอินเดีย 
ชื่อในอดีตได้แก่ ลงกา ลังกาทวีป สิงหลทวีป และ ซีลอน ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ในสมัยอาณานิคมจนถึง พ.ศ. 2517 และเป็นชื่อที่ยังคงใช้ในบางโอกาส ซึ่งชื่อในปัจจุบันคือ ศรีลังกา ชีวิตบนเกาะนี้ ได้รับผลกระทบจากการสู้รบ ระหว่างรัฐบาล และกองทัพพยัคฆ์ปลดปล่อยทมิฬอีแลม (Liberation Tigers of Tamil Eelam) ซึ่งได้มีข้อตกลงหยุดยิงเมื่อต้นปี พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002)

1 ประวัติศาสตร์
2 การเมือง
2.1 รูปแบบการปกครอง
2.2 พรรคการเมือง
2.3 การเมืองภายในของศรีลังกาปัจจุบัน
3 การแบ่งเขตการปกครอง
4 ภูมิประเทศ
5 ภูมิอากาศ
6 เศรษฐกิจ
7 ประชากร
8 วัฒนธรรม
9 ศาสนา


ศรีลังกาเป็นประเทศหนึ่งที่มีอิทธิพลทางศาสนาพุทธมาก
ตราแผ่นดินสมัยอาณานิคม
ชาวสิงหลและชาวทมิฬเข้ามาตั้งรกรากอยู่ในศรีลังกาประมาณ 500 ปี และ 300 ปีก่อนคริสตกาลตามลำดับ โดยต่างก็อพยพมาจากอินเดีย อาณาจักรสิงหลได้ก่อตั้งขึ้นในบริเวณที่ราบทางภาคเหนือของศรีลังกา โดยมีเมืองอนุราธปุระเป็นเมืองหลวงแห่งแรกยาวนานถึงประมาณ 1,200 ปี ต่อมาในศตวรรษที่ 13 

จึงได้เสื่อมลง พร้อมกับการเกิดขึ้นของอาณาจักรทมิฬ โดยมีเมือง'โปลอนนารุวะเป็นเมืองหลวงยาวนานประมาณ 200 ปี ชาวทมิฬจึงได้อพยพไปตั้งอาณาจักรจัฟฟ์นาทางคาบสมุทรจัฟฟ์นา ตอนเหนือของประเทศส่วนชาวสิงหลได้ถอยร่นลงไปตั้งรกรากอยู่ทางใต้ ก่อตั้งเป็นอาณาจักรแคนดี ซึ่งมีเมืองแคนดีเป็นเมืองหลวง 
นอกจากนี้ก็มีอาณาจักรโกฏเฏและอาณาจักรรุหุนะ โดยอาณาจักรแคนดีเป็นอาณาจักรที่มีอำนาจมากที่สุดประมาณศตวรรษที่ 15 อิทธิพลของตะวันตกเริ่มเข้ามามีบทบาทในศรีลังกา เริ่มจากโปรตุเกส ดัตช์ และอังกฤษ ตามลำดับ โดยมาทำการค้าตามเมืองท่าด้านตะวันตกของประเทศ และในปี พ.ศ. 2048 (ค.ศ. 1505) 
โปรตุเกสได้เข้ายึดครองพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลและปกครองประเทศก่อนที่ชาวดัตช์จะเข้าครอบครองดินแดนศรีลังกาในปี พ.ศ. 2201 (ค.ศ. 1658) และต่อมาอังกฤษสามารถครอบครองศรีลังกาเป็นเมืองขึ้นในปี พ.ศ. 2358 (ค.ศ. 1815) ภายใต้อนุสัญญา Kandyan รวมเวลาที่ศรีลังกาตกเป็นเมืองขึ้นของต่างชาติเกือบ 500 ปี และอังกฤษได้ใช้ศรีลังกาเป็นฐานปฏิบัติการทางทหารที่สำคัญแห่งหนึ่งในมหาสมุทรอินเดียในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ศรีลังกาได้รับเอกราชจากอังกฤษ
รัฐสภาเป็นระบบสภาเดียวโดยสมาชิกทั้งหมด 225 คน ได้รับเลือกจากประชาชนทุก ๆ 6 ปี ผู้มีสิทธิออกเสียงต้องมีอายุ 18 ปีขึ้นไป ประธานาธิบดีมาจาก การเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน อยู่ในตำแหน่ง 6 ปี มีฐานะเป็นประมุขของประเทศและหัวหน้ารัฐบาล เป็นผู้แต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี และมีอำนาจถอดถอนนายก รัฐมนตรีและรัฐมนตรี การปกครองท้องถิ่นแบ่งออกเป็น 24 เขตการปกครอง แต่ละเขตปกครองโดยผู้ว่าราชการ 
ศรีลังกาเป็นประเทศที่ประกอบด้วยประชากรหลายเชื้อชาติ ศาสนา แต่การเมืองภายในมีพรรคการเมืองที่สำคัญเพียง พรรคของชนชาติสิงหล คือ SLFP (Sri Lanka Freedom Party) และพรรค UNP (United National Party) ที่แข่งขันช่วงชิงอำนาจทางการเมือง พรรคการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเป็นพรรคของชนเชื้อสายทมิฬและชนกลุ่มน้อยอื่น ๆ เป็นพรรคย่อยและมีความสำคัญน้อย 
นับแต่ศรีลังกาได้รับเอกราชจากอังกฤษในปี 2491 (ค.ศ. 1948) จนถึงปัจจุบันพรรค SLFP และพรรค UNP ผลัดกันเป็นรัฐบาลมาโดยตลอด โดยทั้งสองพรรคดังกล่าวนิยมระบอบประชาธิปไตยเหมือนกัน แต่ต่างกันที่นโยบายเศรษฐกิจของพรรค SLFP มีลักษณะเป็นสังคมนิยม ในขณะที่พรรค UNP มีนโยบายเศรษฐกิจเสรี

































ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น